วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 13.30-17.30น. ตึก15-0905
ความรู้ที่ได้รับ
- กิจกรรมที่จัดต้องให้เด็กได้เกิดความคิดที่แตกต่าง
เด็กได้เปรียบเทียบและตัดสินใจเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่
·
องค์ประกอบความคิดสร้างสรรค์
Guilford ได้แบ่งเป็น 4 ด้าน
1.ความคิดคล่องแคล่ว เชื่อมโยงสัมพันธ์ คิดไวมีความหลากหาย
2.ความคิดริเริ่ม คิดแปลกใหม่แตกต่างจากสิ่งที่มีอยู่
3.ความคิดยืดหยุ่น หาสิ่งใหม่มาทดแทนจากสิ่งเดิม
4.ความคิดละเอียดลออ ความคิดเกี่ยวกับรายละเอียด,การตกแต่ง
·
ขั้นตอนในการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
1.กำหนดเรื่อง
โดยเลือกเรื่องจาความสำคัญ ความสนใจ และมีผลกระทบต่อเด็ก
2. นำหัวข้อที่ได้มาแตกย่อยเป็นองค์ความรู้
ดังนี้
- ประเภท/ชนิด
- ลักษณะ, ส่วนประกอบ
- การดูแลรักษา/การถนอม/การดำรงชีวิต
- ประโยชน์
- ข้อควรระวัง/โทษ
3.เด็กได้ลงมือปฏิบัติจากประสบการณ์ทั้ง 4 ด้าน
สาระที่ควรเรียนรู้
|
|
·
เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
·
เรื่องราวเกี่ยวบุคคล สถานที่ และสิ่งแวดล้อม
·
ธรรมชาติรอบตัวฉัน
·
สิ่งต่างๆ รอบตัว
|
|
ประสบการณ์สำคัญ
|
|
·
ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย
·
ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ
·
ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม
·
ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา
|
|
กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
|
|
·
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
·
กิจกรรมสร้างสรรค์
·
กิจกรรมเสรี
·
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
·
กิจกรรมกลางแจ้ง
·
กิจกรรมเกมการศึกษา
|
บรูณาการเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ จากการเรียนรู้ลักษณะรูปทรงสิ่งของและภาพจำจองรุ้งกินน้ำ สิ่งประดิษฐ์นี้เรียกว่า จำลองการเกิดรุ่ง
ซึ่งเด็กจะเรียนรู้ผ่านการมองเห็นเกิดเป็นภาพสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งที่เคยพบมาก่อนได้จึงเกิดการเปรียบเทียบและสังเกตภายในตนเองเพื่อหาข้อพิสูจน์ที่แท้จริงในอนาคตข้างหน้า
ฐานที่ 2 เป่าสีจากฟองสบู่
บรูณาการเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ จากการเรียนรู้ลักษณะรูปทรงวงกลมและการเกิดฟองอากาศ ภาพนี้ผู้วาดต้องการแสดงถึงลักษณะของตัวผีเสื้อในขณะที่กำลังบินอยู่บนท้องฟ้าในยามเย็นที่แสงกำลังส่องผ่านปีกบ้างๆของเจ้าผีเสื้อด้วยใจที่ไมตรีไปอย่างช้าๆ
ตามแรงลมที่พัดผ่าน
ฐานที่ 3 มหัศจรรย์มือของฉัน
บรูณาการเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องการเกิดรุ้ง
ออกแบบตามจินตนาการของตนเองเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์แก่ตนเอง
ฐานที่ 4 แกนกระดาษทิชชู
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
บรูณาการเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ จากการเรียนรู้ลักษณะรูปทรงสิ่งของ การนับจำนวน
การเปรียบเทียบและวงจรชีวิตของยุง โดยออกแบบเป็นแมลงที่ตนเองวาดไว้ภายในใจโดยไม่ซ้ำกับเพื่อนภายในห้อง
การนำไปประยุกต์จากการจัดทำกิจกรรมที่เหมาะสมกับความต้องการและความสนใจเลือกกิจกรรมมาจัดทำเป็นฐาน รวมถึงบูรณาการเข้ากับการเรียนรู้STEM&STEAM
การประเมินผล
ประเมินตนเอง ตั้งใจและเป็นผู้ฟังที่ดีร่วมกิจกรรมที่เกิดขึ้น
ประเมินเพื่อน เพื่อนเป็นผู้ฟังที่ดี
ร่วมถึงแสดงความคิดเห็นโต้ตอบบทสนทนากับอาจารย์ได้
มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมที่ดีพร้อมและเป็นระเบียบเรียบร้อยดี
ประเมินอาจารย์ อาจารย์แต่งกายเรียบร้อยให้เกียรติสถานที่ ยิ้มแย้มแจ่มใส รับฟังและแสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น